ระบบเครือข่ายภายใน โรงพยาบาลเสิงสาง
แบบบันทึกรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง โรงพยาบาลเสิงสาง (ฉบับปรับปรุง 05)     [ ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม]


หน่วยงาน/บริเวณที่เกิดเหตุ หน่วยงานรายงาน เหตุการณ์เกิดขึ้นกับ ผู้ป่วย/ญาติ เจ้าหน้าที่
ชื่อผู้ป่วย/ผู้ประสบปัญหา อายุปี เพศ ชาย หญิง HNAN
วินิจฉัยโรค แพทย์เจ้าของไข้ วันที่เกิดเหตุ เวลา
กรุณาทำเครื่องหมายถูก ในช่อง วงกลม หน้าข้อที่เหตุการณ์เกิดขึ้น
1.โปรแกรมอุบัติการณ์ความเสี่ยงทางคลิกนิก
1.1.ด้านคลินิกบริการ
แพทย์ ตามแพทย์ไม่ได้ แพทย์มาล่าช้า อื่น ๆ
พยาบาล รับคำสั่งผิด รายงานแพทย์ช้า ไม่รายงานแพทย์
LAB รายงานผลล่าช้า รายงานผลผิดพลาด ผลการวิเคราะห์สูญหาย
X-Ray รายงานผลล่าช้า ถ่ายภาพ X-Ray ซ้ำ ดูภาพถ่ายไม่ได้
อื่น ๆ
หัตถการ ท่อเลื่อนหลุด ปฏิบัติไมถูกต้อง เกิดภาวะแทรกซ้อน
เลือด/สารน้ำ ให้ผิดคน/ผิดชนิด ไม่ได้ให้ เกิดภาวะแทรกซ้อน
การเคลื่อนย้าย อุบัติเหตุจากการเคลื่อนย้าย รับ-ส่งผิดที่ รับ-ส่งผิดคน
รับ-ส่งล่าช้า ลืมรับ-ส่ง อื่น ๆ
การ Refer ผู้ป่วย รถพยาบาลไม่พร้อมไม่เพียงพอ ขาดพยาบาลRefer
Refer ภายใน 4 ชม. (หลัง Admit) เกิดภาวะแทรกซ้อน/เสียชีวิตระหว่าง Refer
ไม่เก็บอุปกรณ์หลังกลับจาก Refer
สิ่งส่งตรวจ เก็บผิดคน เก็บผิดประเภท เสียหาย/หาย
ไม่ได้บ่งชี้ บ่งชี้ผิด
Re Admission/Visit ภายใน 48 ชั่วโมง (เฉพาะ ER) ภายใน 28 วัน (เฉพาะ IPD)
อุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน ได้รับการดูแลไม่เหมาะสม
เครื่องมืออุปกรณ์ชำรุดขณะให้การดูแลผู้ป่วย
การสื่อสาร/การประสานในการดูแลผู้ป่วย(QN,โทรศัพท์,Line)
ผู้ป่วยหนีกลับ
ผู้ป่วยเสียชีวิต/อาการทรุดโดยไม่คาดคิด
ผู้ป่วยทำร้ายตัวเอง/ฆ่าตัวตาย
1.2.ด้าน Specific Clinical Risk
ผู้ป่วยมีอาการแทรกซ้อนจากโรคที่เป็น
(รายละเอียด)
1.2.1.DM
Hypoglycemia (FBS<80)
Hyperglycemia (FBS> 300)
DM Foot (ใหม่)
ขาดนัด > 7 วัน
ผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่เคยตรวจ BUN,Cr.,FBS (ภายในเวลา 1 ปี)
ผู้ป่วย DM รายใหม่ได้ได้ตรวจ BUN, Cr.
ผู้ป่วย DM รายเก่าขาดการตรวจสุขภาพประจำปี
ผู้ป่วย DM On Met for min แล้วไม่ได้ F/U BUN,Cr.,เกิด Hypoglycemia
ผู้ป่วย DM admit แล้วเกิด Hypoglycemia ซ้ำ
อื่น ๆ
1.2.ด้าน Specific Clinical Risk (ต่อ)
1.2.2.COPD/Asthma
Re admit
Acute Exacerbation
ET Tube Exacerbatio
Respiratory failure
Death จาก COPD/Asthma
อื่น ๆ
1.2.3.TB
ขาดยา/กลับเป็นซ้ำ
ไม่ได้รับการรักษาตามแผน
เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษา
อื่น ๆ
1.2.4.AWS
มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างนอนรพ. เช่น Pneumonia
ผู้ป่วยพลัดตกหกล้ม เช่น ตกเปล
Death
1.2.5.CVA
New Case C Complication (Aspirate pneumonia, Bed sore ,UTI)
Old case Re admit ใน 28 วัน
Re current CVA
การประเมินผู้ป่วยผิดพลาด (Admit or Refer)
ขาดการพิจารณาให้ยาลดความดันฯ กรณีสงสัย CVA ในกรณีสงสัย Hemorrhage
ขาดการพิจารณาคุยการดำเนินโรคแก่ญาติในการตัดสินใจกรณีผู้ป่วย End stage
อื่น ๆ
1.2.6.Diarrhea / AGE
Death
ขาดการประเมินภาวะ Dehydrations ในผู้ป่วยที่มาด้วย AGE
การบันทึกการตรวจร่างกายไม่ครอบคลุม
ขาดการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง (U/D, เด็ก < 1ปี,สูงอายุ, Pregnancy)
ขาดการพิจารณาส่ง Lab ที่จำเป็น เพื่อประเมินสภาวะผู้ป่วย
ผู้ป่วยไม่สมัครใจอยู่ ขาดการให้ข้อมูลที่จำเป็น
อื่น ๆ
หน้าที่ 2
1.2.ด้าน Specific Clinical Risk (ต่อ)
Pregnancy จนถึงหลังคลอด
1.2.7.ANC ไม่ได้คุณภาพ
ด้านการบันทึก
ด้านการประเมินภาวะ High Risk
ด้านการประเมินท่าเด็ก
ด้านการประเมินภาวะ Emergency or Urgency
ผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ไม่ได้ส่งพบแพทย์
ผู้ป่วยไม่ได้ ANC
เกิดภาวะพิษแห่งครรภ์/แทรกซ้อนระหว่างรอคลอด
1.2.8.ภาวะแทรกซ้อนจากการคลอด
PPH Tear Birth canal
แผลแยก,ติดเชื้อ Birth Asphyxia
BBA Retain placenta
มารดา/ทารกแรกเกิดเสียชีวิต
1.2.9.DHF
Prolong shock มีภาวะ Shock ร่วมด้วย
Bleed (UGIB) Re shock (Fluid leak)
Death
1.2.10.Trauma, HI
Splint ในผู้ป่วยกระดูกหักไม่ถูกต้อง
ไม่ได้ส่ง Film ใน case ที่มีข้อบ่งชี้ ทำให้วินิจฉัยผิดพลาด
GCS drop แล้ว detect ไม่ได้
Loss ประเมิน NS ใน Case HI Spinal injury
ในผู้ป่วยสงสัย Spine injury ไม่ได้รับการประเมินและรักษาอย่างทันท่วงที
ผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางทรวงอก (Chest injury) แล้วไม่ได้รับการ ประเมินที่ถูกต้องและรักษาอย่างทันท่วงที
Miss Diagnosis (Fx.ribs ,Pneumohemothorax, Lung confusion)
ประเมินภาวะ abdominal injury ไม่ได้
Case Tear vascular, Tear Tendon ,Tear nerve ไม่ได้รับการ Detect และรักษาอย่างถูกต้อง
ผู้ป่วยที่มีเลือดออกที่แขน ขา ไม่ได้รับการดูแลที่ถูกต้องจนเกิดภาวะ shock
ผู้ป่วย shock ในรายที่ได้รับอุบัติเหตุ ไม่ได้รับการประเมินและดูแลตามมาตรฐาน
1.2.11.ภาวะแทรกซ้อนทางทันตกรรม
เลือดไหลไม่หยุดหลังขูดหินปูน
เลือดไหลไม่หยุดหลังถอนฟัน
ถอนฟันผิดซี่
Dry Socket
ติดเชื้อหลังถอนฟัน (ปวด, บวม, เป็นหนอง Infection)
น้ำยาล้างคลองรากฟันไหลเข้าปากผู้ป่วย (Burn soft issue)
มีแผลที่ปากหลังการถอนฟัน / ผ่าฟันคุด
รากหักทะลุ Maxillary sinus
ผู้ป่วยเป็นลม ขณะทำหรือหลังทำหัตถการ
2.โปรแกรมด้านระบบยา
Prescribing error (คำสั่งการใช้ยาผิด) OPD IPD
Processing error (จัดยาผิดที่ห้องยา) OPD IPD
Dispensing error (จ่ายยาผิด) OPD IPD
Pre-Administration error (Near miss) OPD IPD
Administration error (Miss) OPD IPD
แพ้ยาซ้ำ ยาขาดคราว ยาขาดคลัง
การบริหารยาความเสี่ยงสูง การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
3.โปรแกรมด้านสารสนเทศ / เวชระเบียน
3.1.ด้านเวชระเบียน
ผิดคน หาย ไม่ได้บันทึก บันทึกไม่สมบูรณ์
ค้นประวัติผู้ป่วยไม่พบ ลงทะเบียนทำบัตรไม่ถูกต้อง
ส่งเวชระเบียนล่าช้า ใบ Inform Consent บันทึกไม่สมบูรณ์
ให้ข้อมูล/สถิติผิดพลาดล่าช้า คอมพิวเตอร์เสีย/ระบบขัดข้อง/ข้อมูลสูญหาย
ไม่มีอุปกรณ์สำรองคอมพิวเตอร์ แก้ไขคอมพิวเตอร์ล่าช้า
ประวัติเจ้าหน้าที่ไม่ถูกต้อง เอกสารที่เป็นความลับรั่วไหล
อื่น ๆ
3.2.ด้านการสื่อสาร
การให้ข้อมูล/สื่อสารไม่ถูกต้อง (เวชระเบียน, โทรศัพท์, ส่งเวร, สั่งยา, สั่งตรวจ)
ประสานงานทั่วไปล่าช้า/ผิดพลาด (Non Clinic เช่น สั่งซื้อ, ส่งซ่อม, ขอห้องประชุม, ขอรถ)
อื่น ๆ
4.โปรแกรมด้านสิ่งแวดล้อมและกายภาพ
ระบบประปามีปัญหา ไฟฟ้าช๊อต/ไฟฟ้าขัดข้อง
ระบบบำบัดน้ำเสีย พื้นลื่น
ระบบการจราจร ป้ายสูญหาย
ปริมาณแสงไม่เพียงพอ เสียงดังเกินควร
ปริมาณฝุ่นมาก กลิ่นเหม็น
ระบบการระบายอากาศ ระบบระบายน้ำ
ทิ้งขยะไม่ถูกที่ อื่น ๆ
4.1.ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
เจ้าหน้าที่ได้รับอันตราย/บาดเจ็บจากการปฏิบัติงาน
เจ้าหน้าที่ได้รับอันตรายจากอุปกรณ์/เครื่องมือที่ไม่ได้มาตรฐาน
เจ้าหน้าที่ได้สัมผัส/สูดดมสารเคมี/สิ่งปนเปื้อน/สารทึบรังสี
เจ้าหน้าที่ได้รับอันตรายจาก : แสง เสียง ความร้อน ไฟฟ้า
อื่น ๆ
4.2.ด้านเครื่องมือ/อุปกรณ์
เครื่องมือ ชำรุด สูญหาย ไม่พร้อมใช้งาน ไม่ได้มาตรฐาน
เครื่องมือใช้ในการดูแลผู้ป่วยไม่เพียงพอ อุปกรณ์สำนักงานไม่เพียงพอ
เครื่องมือ/อุปกรณ์ชำรุดจากการใช้งานผิดวิธี อื่น ๆ
หน้าที่ 3
4.3.ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ทรัพย์สินสูญหาย การทะเลาะวิวาททำร้ายร่างกายผู้ป่วย/ญาติ
เอกสารสำคัญสูญหาย เจ้าหน้าที่ถูกทำร้าย/คุกคาม
ยาเสพติดสูญหาย เอกสารสำคัญนำส่งล่าช้า
โจรกรรม/ลักขโมย/ทุจริต อุบัติเหตุรถโรงพยาบาล
พบบุคคลแปลกปลอมในโรงพยาบาล อุบัติภัย
อุบัติเหตุหมู่ อื่น ๆ
5.โปรแกรมด้านบริหาร/จัดการ
5.1.ด้านบริหารจัดการบุคลากร
ไม่อยู่ปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ
มาปฏิบัติงานช้ากว่า 30 นาที โดยไม่แจ้ง ไม่มีเตียงรับผู้ป่วย
ปฏิเสธการให้บริการโดยไม่แจ้งเหตุผล อื่น ๆ
5.2.ด้านอาหาร
ผิด/ไม่ครบ ปนเปื้อน ติดป้ายไม่ตรง อื่น ๆ
5.3.ด้านสิทธิการรักษา/การเงิน
ตรวจสอบสิทธิ์ผิดพลาด คิดเงินผิด/ซ้ำ/ไม่คิดเงิน
ไม่เก็บเอกสารตามสิทธิ์ ไม่สามารถหาสิทธิ์ได้
ไม่จ่ายค่ารักษา อื่น ๆ
6.โปรแกรมด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในร.พ.
อุปกรณ์ไม่ปราศจากเชื้อ เจ้าหน้าที่ติดเชื้อจากผู้รับบริการ
ผู้ป่วยติดเชื้อจากการให้บริการ เจ้าหน้าที่ถูกของมีคมตำ/บาด
การแยกผู้ป่วยติดเชื้อไม่เหมาะสม ไม่ปฏิบัติตามาตรการปลอดเชื้อ
การใช้อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อไม่เหมาะสม การคัดแยก การเก็บ การทำลายขยะไม่ถูกต้อง
การคัดแยกผ้า/เครื่องมือไม่ถูกต้อง มีอุปกรณ์/น้ำยาหมดอายุในพื้นที่ปฏิบัติงาน
จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา ระบุ อื่น ๆ
7.โปรแกรมด้านข้อร้องเรียนความพึงพอใจ
7.1.พฤติกรรมบริการ
ปฏิเสธการรักษาด้วยความไม่พอใจ
ได้รับการบริการด้วยพฤติกรรมไม่สุภาพ ระบุ
7.2.มาตรฐานการบริการ
ความรวดเร็ว การรักษา สถานที่
อื่น ๆ
7.3.สิทธิและจริยธรรม
เปิดเผยร่างกายผู้ป่วยโดยไม่ได้รับอนุญาต ทำหัตถการโดยไม่ให้ผู้ป่วย/ญาติเซ็นยินยอม
ผู้ป่วยไม่ได้รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับโรค/การรักษา ผู้ป่วยไม่ได้รับการส่งต่อตามข้อบ่งชี้ที่เหมาะสม
ผู้ป่วยรอรับบริการนานกว่าปกติ ถูกเปิดเผยข้อมูลจากการเจ็บป่วยโดยไม่ได้รับอนุญาต
อื่น ๆ
8.โปรแกรมด้านสร้างเสริมสุขภาพ
ANC < 12 wks เกิน 60%
Lost การประเมินพัฒนาการ
กลุ่ม 15-19 ปี ท้องซ้ำ
ANC ไม่ครบ 5 ครั้ง
Teenage Preg อายุ < 20 ปี
ANC High Risk เรื่อง
พบความเสี่ยงจากการตรวจสอบสุขภาพบุคลากร
พบความเสี่ยงจากการฉีดวัคซีนบุคลากร
ความเสี่ยงของกลุ่มประชาการในชุมชน
หน้าที่ 4
ส่วนที่ 1 หน่วยงาน/บริเวณที่เกิดเหตุ
สรุปปัญหา/เหตุการณ์ที่พบ
แนวทางการแก้ไขเบื้องต้น
การประเมินความรุนแรง
ความเสี่ยงทางคลินิก (ผู้รับบริการ/ญาติผู้ป่วย/บุคลากรทางการแพทย์) ความเสี่ยงทางกายภาพ(NonClinic)
A เหตุการณ์ซึ่งมีโอกาสที่จะก่อให้เกิดความเสี่ยง
B เกิดความเสี่ยงขึ้นแต่ยังไม่ถึงผู้รับบริการ/บุคคลากร
C เกิดความเสี่ยงแล้วแต่ไม่เกิดอันตรายต่อผู้รับบริการไม่ต้องเฝ้าระวังรักษา
D เกิดความเสี่ยงแล้วส่งผลให้มีการเฝ้าระวังเพื่อให้มั่นใจว่าไม่เกิดอันตราย
E เกิดความเสี่ยงขึ้นส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องบำบัดรักษา
F เกิดความเสี่ยงขึ้น ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวและต้องบำบัดรักษาหรืออยู่โรงพยาบาลนานขึ้น
G เกิดความเสี่ยงขึ้นส่งผลให้เกิดอันตรายถาวรแก่ผู้ป่วย
H เกิดความเสี่ยงผลให้ต้องช่วยชีวิต
I เกิดความเสี่ยงขึ้นกับผู้ป่วย อาจเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต
หมายเหตุ : การจัดการปัญหา
A-D หรือ 1-2 ภายใน 7 วัน
E-F หรือ 3 ภายใน 72 ชั่วโมง
G-I หรือ 4 ภายใน 24 ชั่วโมง
ระดับ 1 มีโอกาสเกิดความเสี่ยง
ระดับ 2 ความรุนแรงระดับน้อย หมายถึง โอกาสที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง หรือเกิดขึ้นแต่ไม่ทำให้องค์กร, หน่วยงานเสียหายหรือเจ้าหน้าที่ได้รับอันตราย ค่าเสียหายไม่เกิน 10,000 บาท
ระดับ 3ความรุนแรงระดับปานกลาง หมายถึง มีผลกระทบทำให้เกิดการปฏิบัติงานให้บริการขัดข้องต้องใช้เวลาในการแก้ไขเหตุการณ์มากกว่า 1 วัน ค่าเสียหายมากกว่า 10,000 – 100,000 บาท
ระดับ 4 ความรุนแรงระดับสูง หมายถึง ทำให้งานเกิดความเสียหาย/เสื่อมเสียชื่อเสียงขององค์กร,หน่วยงาย ไม่สามารถให้บริการหรือปฏิบัติงานได้ต้องใช้เวลาในการแก้ไขเหตุการณ์มากกว่า 7 วัน ค่าเสียหายมากกว่า 100,000 บาทขึ้นไป
Sentinel event (เหตุการณ์พึงระวัง) : การส่งมอบเด็กผิดคน, ผู้ป่วยฆ่าตัวตาย/พยายามฆ่าตัวตาย, เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการรักษาพยาบาลจนผู้ป่วยจนผู้ป่วยเกือบเสียชีวิต/เสียชีวิต, ผู้ป่วย/ญาติได้รับอุบัติเหตุในรพ.เกือบเสียชีวิต/เสียชีวิต, เกิดโรคติดต่อร้ายแรง/มีการทำร้ายผู้ป่วย/ญาติ/เจ้าหน้าที่, สาธารณภัย ,แก๊สหม้อนึ่ง ถังออกซิเจนระเบิด, ความเสี่ยงต่อการถูกฟ้องร้อง, บุคลากรได้รับอุบัติเหตุอาการสาหัส/รถโรงพยาบาลเกิดอุบัติเหตุเสียหายมาก, โจรกรรม
ต้องรายงานให้ผู้อำนวยการโรงพยาบาลทราบทันที
ลงนามบันทึกตำแหน่งหัวหน้างานวันที่ เวลา ที่บันทึก (อัตโนมัติ)
ส่วนที่ 2 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
เพื่อนำเสนอ : หน่วยงาน คณะกรรมการ ดำเนินการหา RCA
   คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล ผู้อำนวยการโรงพยาบาล เลขที่ใบ RCA
ลงนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้บันทึก วันที่ เวลา ที่บันทึก (อัตโนมัติ)  
ส่วนที่ 3 หน่วยงานที่รับผิดชอบ/คณะกรรมการ
สาเหตุของปัญหา/เหตุการณ์ แนวทางการแก้ไขเบื้องต้น
ลงนามผู้บันทึก ตำแหน่ง หัวหน้างาน วันที่ เวลา ที่บันทึก (อัตโนมัติ)  
ส่วนที่ 4 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
ปิดประเด็นรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง
ติดตามข้อมูลเพิ่มเติมในประเด็น (อธิบายในช่องด้านล่าง) แนวทางการแก้ไขปัญหาเพิ่มเติม (หน่วยงานที่รับผิดชอบ อธิบายในช่องด้านล่าง)
ประเมินผลการแก้ไขปัญหาเพิ่มเติม (คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อธิบายในช่องด้านล่าง) ลงนามคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ผู้ประเมิน
วันที่ เวลา ที่บันทึก (อัตโนมัติ)  

หมายเหตุ : ข้อมูลในใบรายงานอุบัติการณ์ใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพเท่านั้น